บทที่ 3 |
วิธีดำเนินงานโครงการ |
การพัฒนาและหาประสิทธิภาพระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและบันทึกการรักษาของสุนัข มีขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ มีรายละเอียด ดังนี้ |
3.1 วิธีการดำเนินโครการ |
การสร้างการพัฒนาและหาประสิทธิภาพระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและบันทึกการรักษาของสุนัข ขั้นตอนการออกแบบ โดยละเอียด แสดงเป็นขั้นตอนดังภาพที่ 3.1 ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการดำเนินโครงการรายละเอียดดังนี้ |
3.2 วิเคราะห์สภาพปัญหา |
จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประเมินความต้องการของผู้ใช้นวัตกรรม เพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุงนวัตกรรม ผู้ดำเนินโครงการ ได้รวบรวมความต้องการของผู้ใช้งานโดยวิธี การสอบถามและพูดคุยหาข้อมูลจากผู้ที่มีปัญหาในการบันทึกข้อมูลการพบสัตวแพทย์ ทำให้เกิดข้อมูลศูนย์หายหรือผิดด้านตัวหนังสืออาจเกิดจากการอ่านไม่ออกหรือเขียนไม่ครบทำให้ผู้ใช้ไม่ทราบข้อมูลที่ชัดเจน ข้อมูลที่บันทึกในปัจจุบันจึงได้ไม่ครบถ้วน พบว่า 1.1) ด้าน hardware ระบบเดิม ระบบเดิมมี hardware ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม ดังตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.1 hardware ระบบเดิม 1.2) ด้าน software ระบบเดิม ระบบเดิมมี software ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม มีดังต่อไปนี้ 1) ด้านsoftwareประยุกต์ ดังตารางที่ 3.2 ตารางที่ 3.2 software ประยุกต์ระบบเดิม ตารางที่ 3.3 software ซอฟต์แวร์ระบบเดิม 2) กำหนดขอบเขตของปัญหาโดยยึดหลักความต้องการของผู้ใช้งาน ข้อกำหนดความต้องการของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการบันทึกการรักษาของสุนัข จำเป็นต้องทำการระบุความต้องการเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาระบบต่อไป ในส่วนนี้ขอเสนอข้อกำหนดความต้องการของระบบที่สำคัญ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1) ด้านความต้องการด้านฟังก์ชั่น ( Functioncal requirements ) หน้าที่หลักของระบบที่ต้องทำ สามารถแบ่งออกเป็นหัวข้อย่อยดังนี้ 1.1) ระบบบันทึกข้อมูลสุนัข รายละเอียดระบบบันทึกข้อมูลสุนัขมีดังนี้ 1.1.1) บันทึกข้อมูลสุนัข 1.1.2) บันทึกข้อมูลการรักษา 1.2) ระบบการแจ้งเตือน รายละเอียดระบบแจ้งเตือนมีดังนี้ 1.2.1) แจ้งเตือนตามระยะเวลาที่กำหนด 3) กำหนดขอบเขตในการพัฒนานวัตกรรม 3.1) ผู้ใช้งานระบบ 3.1.1) สมัครใช้งาน 3.1.2) สามารถบันทึกข้อมูลสุนัข 3.1.3) สามารถจัดการข้อมูลสุนัข 3.1.4) สามารถบันทึกการรักษาและฉีดวัคซีน 3.1.5) สามารถจัดการข้อมูลการบัทึกได้ 3.1.6) สามารถกำหนดเวลาการแจ้งเตือนได้ 3.1.7) สามารถแก้ไขและยกเลิกการแจ้งเตือนได้ 4.1) ด้าน hardware ระบบใหม่ ระบบใหม่ hardware ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม ดังตารางที่ 3.4 ตารางที่ 3.4 hardware ระบบใหม่ 4.2) ด้าน software ระบบใหม่ ระบบใหม่ software ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม ดังตารางที่ 3.5 ตารางที่ 3.5 software ระบบใหม่ |
3.3 ข้อกำหนดเกี่ยวกับความต้องการของนวัตกรรม |
ข้อกำหนดเกี่ยวกับความต้องการของระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ( Dog vaccination and treatment record system ) ดังตารางที่ 3.6 ตารางที่ 3.6 ลงทะเบียนผู้ใช้งานระบบ ตารางที่ 3.7 การเพิ่มข้อมูลสุนัข ตารางที่ 3.8 การจัดการข้อมูลสุนัข ตารางที่ 3.9 การเพิ่มข้อมูลการรักษาและฉีดวัคซีน ตารางที่ 3.10 การจัดการข้อมูลการรักษาและการฉีดวัคซีน ตารางที่ 3.11 จัดการการแจ้งเตือน |
3.4 การออกแบบนวัตกรรม |
3การออกแบบด้าน software องค์ประกอบนวัตกรรม ประกอบด้วย 1) แผนภาพบริบทระบบ ภาพที่ 3.2 แผนภาพบริบท 2) แผนภาพระดับที่ 0 ภาพที่ 3.3 แผนภาพระดับ 0 3) แผนภาพระดับที่ 1 ภาพที่ 3.4 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 ระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ภาพที่ 3.5 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 ระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ภาพที่ 3.6 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 ระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข 4) พจนานุกรมและคำอธิบายกระบวนการ ระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและบันทึกการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) ดังตารางที่ 3.2 ตารางที่ 3.12 ตารางข้อมูลผู้ใช้งาน ตารางที่ 3.13 ตารางข้อมูลสุนัข ตารางที่ 3.14 ข้อมูลวัคซีนและการรักษา ตารางที่ 3.15 อธิบายกระบวนการที่ 1 ลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบ ตารางที่ 3.16 อธิบายกระบวนการที่ 2 บันทึกข้อมูลสุนัข ตารางที่ 3.17 อธิบายกระบวนการที่ 2.1 การจัดการข้อมูลสุนัข ตารางที่ 3.18 อธิบายกระบวนการที่ 2.2 บันทึกข้อมูลสุนัขหลังแก้ไข ตารางที่ 3.19 อธิบายกระบวนการที่ 3 บันทึกการรักษาและการฉีดวัคซีน ตารางที่ 3.20 อธิบายกระบวนการที่ 3.1 จัดการข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษา ตารางที่ 3.21 อธิบายกระบวนการที่ 3.2 บันทึกข้อมูลข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาหลังแก้ไข ตารางที่ 3.21 อธิบายกระบวนการที่ 4 จัดการเวลาการแจ้งเตือน ตารางที่ 3.21 อธิบายกระบวนการที่ 4.1 จัดการเวลาการแจ้งเตือน ตารางที่ 3.21 อธิบายกระบวนการที่ 4.2 บันทึกข้อมูลการแจ้งเตือนหลังแก้ไข 5) แบบจำลองข้อมูลระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและบันทึกการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) ดังภาพที่ 3.7 ภาพที่ 3.7 แบบจำลองข้อมูลระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและบันทึกการรักษาของสุนัข 6) การออกแบบฐานข้อมูลของระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและบันทึกการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) ดังตารางที่ 3.19 ถึง 3.21 ตารางที่ 3.22 ตารางข้อมูลผู้ใช้งาน ตารางที่ 3.23 ตารางข้อมูลสุนัข ตารางที่ 3.24 ข้อมูลวัคซีนและการรักษา 7) การออกแบบผลลัพธ์ของระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและบันทึกการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) ดังภาพที่ 3.8 ถึง 3.10 ภาพที่ 3.8 หน้าหลัก ภาพที่ 3.9 หน้าแสดงข้อมูลสุนัขรวม ภาพที่ 3.10 หน้าแสดงข้อมูลผู้ใช้งาน 8) การออกแบบส่วนนำเข้าข้อมูลระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและบันทึกการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) ดังภาพที่ 3.11 ถึง 3.15 ภาพที่ 3.11 หน้าสมัคร ภาพที่ 3.12 หน้าล็อกอิน ภาพที่ 3.13 หน้าเพิ่มข้อมูลสุนัข ภาพที่ 3.14 หน้าเพิ่มข้อมมูลการรักษาและการฉีดวัคซีน ภาพที่ 3.15 หน้าการแก้ไขข้อมูลสุนัข 9) การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและบันทึกการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) ภาพที่ 3.16 หน้าแสดงข้อมูลสุนัขแต่ละตัว ภาพที่ 3.17 หน้าการแนะนำการฉีดวัคซีน ภาพที่ 3.18 หน้ายืนยันข้อมูลและการแจ้งเตือน |
3.5 การทดสอบระบบ |
1) ผลลัพธ์ของระบบ 1.1) การทดสอบระบบการบันทึกข้อมมูลสุนัข 1.2) การทดสอบระบบการแจ้งเตือน 2) ส่วนนำเข้าข้อมูล 2.1) การทดสอบระบบการเพิ่มข้อมูลสุนัข 2.2) การทดสอบระบบเพิ่มข้อมูลบันทึกการรักษาและการฉีดวัคซีน 2.3) การทดสอบระบบการเพิ่มข้อมูลผู้ใช้งาน 3) ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ 3.1) การทดสอบระบบแก้ไขข้อมูลสุนัข 3.2) การทดสอบระบบแกรแก้ไขข้อมูลการบันทึกการรักษาและฉีดวัคซีน 3.3) การทดสอบระบบ |
3.6 การออกแบบประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม |
1) แบบประเมินประสิทธิภาพของการพัฒนาระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ( Dog vaccination and treatment record system ) มีดังนี้ ตารางที่ 3.25 แบบประเมินประสิทธิภาพระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข 2) แบบสรุปผลการเมินประสิทธิภาพของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ตารางที่ 3.26 แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข 3) แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ตารางที่ 3.27 แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข |
3.7 การออกแบบประเมินความพึงพอใจการใช้นวัตกรรม |
1) แบบประเมินประสิทธิภาพของการพัฒนาระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ( Dog vaccination and treatment record system ) 1.1) แบบประเมินประสิทธิภาพของการพัฒนาระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ( Dog vaccination and treatment record system ) ตารางที่ 3.28 แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข 2) แบบประเมินความพึงพอใจในระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ( Dog vaccination and treatment record system ) 2.1) แบบประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและการรักษาสุนัข ( Dog vaccination and treatment record system ) ตารางที่ 3.28 แบบประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข 2.2) แบบสรุปการประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ตารางที่ 3.29 แบบสรุปการประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข 2.3) แบบประเมินความพึงพอใจของระบบันทึกการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ตารางที่ 3.30 แบบประเมินความพึงพอใจของระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข |
3.8 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง |
1) ประชากร ได้ แก่ นักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ จำนวน 20 คน 2) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาเทคนิคคอมพิวเตอร์ จำนวน 20 คน กลุุ่มเป้าหมายที่ 1 เพื่อทดลองใช้ ระบบ กลุุ่มเป้าหมายที่ 2 เพื่อใช้ หาข้อบกพร่องและติชม |
3.9 การเก็บรวบรวมข้อมูล |
ระบบบันทึกการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข ( Dog vaccination and treatment record system ) มีขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลแผนผัง ดังรูปที่ 3.15 แผนผังการเก็บรวบรวมข้อมูล ภาพที่ 3.19 แผนผังการเก็บรวบรวมข้อมูล จากภาพที่ 3.19 อธิบายได้ดังนี้ 1) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากสมาชิกผู้ใช้งาน จำนวน 15 คน 2) ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้าหมายที่ 3 3) ระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) ตามผลการทดลอง 4) บันทึกผลการทดสอบระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) ลงแบบประเมินประสิทธิภาพ 5) จัดทำรายงานผลระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) 6) ใช้งานจริงระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) กลุ่มเป้าหมายที่ 1 และ 2 7) ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจจากผู้ใช้งานระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) 8) วิเคราห์ข้อมูลจากแบบสอบถามเพื่อจัดทำรายการใช้งานระบบบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนและการรักษาของสุนัข (Dog vaccination and treatment record system) |
3.10 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล |
ในการวิเคราะห์แบบสอบถามหรือแบบประเมินความพึงพอใจ ทางผู้พัฒนาได้เลือกใช้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1) ค่าเฉลี่ย ใช้เพื่อหาค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างโดยการเฉลี่ยจากค่าน้ำหนักของข้อมูลที่ได้ เพราะข้อมูลที่ได้มีค่าน้ำหนักต่างกัน เพื่อที่ได้จะแบ่งระดับค่าเฉลี่ยในแบบสอบถาม ออกมาเป็นเกณฑ์คร่าวๆ 5 ข้อ ตัวอย่างเช่น ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4.00 ดีมาก 3.50 – 3.99 ดี 3.00 – 3.49 พอใช้ 2.51 – 2.99 ควรปรับปรุง น้อยกว่า 2.50 ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง เป็นต้น จากนั้นจะเอาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หัวข้อในแบบสอบถามแต่ละข้อว่า ข้อใดบ้างที่ควรปรับปรุง ข้อใดบ้างที่ไม่ต้องปรับปรุง 2) ค่าร้อยละ เพื่อใช้แปลความหมายของข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการนำเสนอข้อมูลผ่านตารางแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละที่ได้จะมาจากคะแนนที่ได้เอาไปคูณ 100 แล้วหารด้วยคะแนนเต็ม 3) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อใช้หาค่าเบี่ยงเบนจากเกณท์มาตราฐานของกลุ่มข้อมูลในแต่ละเกณฑ์หรือหาความแตกต่างของข้อมูลในแต่ละกลุ่มหรือแต่ละเกณฑ์ของค่าเฉลี่ย |
แก้ไข |