ระบบเว็บไซต์แบบฝึกหัดเสริมทักษะการเรียนรายวิชาโครงการ 1-2 ออนไลน์
Website Learning Exercises for Learning Skills in Project Curriculum 1-2
หน้าแรก
โครงการ 1
โครงการ 2
แบบสอบถามความพึงพอใจ
คู่มือการใช้งาน
วิเคราะห์แบบสอบถาม
ออกแบบและพัฒนาระบบ โดย ครูแดงต้อย คนธรรพ์
หน้าแรก
เกี่ยวกับแผนก
บุคลากร
วิสัยทัศน์
เป้าหมาย
หลักสูตรการเรียน
หลักสูตรการเรียน
แผนการเรียน
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กระดานสนทนา
ผลงานนักเรียน
ติดต่อเรา
เข้าสู่ระบบ
ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
จำรหัสผ่าน
โครงการ
บทที่3
วิธีดำเนินงานโครงการ
สร้างระบบพรีออเดอร์สินค้า เพื่อจัดการข้อมูลอย่างเป็นระเบียบ สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
3.1 วีธีการดำเนินโครการ
การสร้าง
การพัฒนา
การสร้างการสร้างการสร้างการสร้างการสร้างการสร้างการสร้างการสร้างระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ มีขั้นตอนการออกแบบ โดยรายละเอียด แสดงเป็นลำดับขั้นตอนในการดำเนินโครงการ ดังภาพที่ 3.1
ภาพที่ 3.1
ลำดับขั้นตอนในการดำเนินโครงการรายละเอียดดังนี้
รายละเอียดดังนี้
3.2 วิเคราะห์สภาพปัญหา
จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาได้รวบรวมความต้องการของผู้ใช้งานโดยวิธีการสอบถามและพูดคุยหาข้อมูลจากผู้ที่มีปัญหาในการใช้งานการเก็บข้อมูลลูกค้ารูปแบบเดิม ซึ่งรูปแบบเดิมทำให้เกิดความผิดพลาดทางข้อมูลและอาจสูญหายได้ง่าย และเอกสารนั้นๆ ยังเป็นแบบออฟไลน์ ไม่สามารถแบ่งปันการเข้าถึงของเอกสารได้ทำให้การแบ่งปัญข้อมูลภายในบริษัททำได้ยากและไม่สะดวกต่อการทำงาน พบว่า
1.1) ด้าน hardware ระบบเดิม
ระบบเดิมมี hardware ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม ดังแสดงในตารางที่ 3.1
ตารางที่
3.1 ด้าน hardware ระบบเดิม
1.2) ด้าน software ระบบเดิม
ระบบเดิมมี software ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม มีดังต่อไปนี้
(1) ด้าน software ประยุกต์ ดังแสดงในตารางที่ 3.2
ตารางที่
3.2 ด้าน software ประยุกต์ระบบเดิม
(2) ด้าน software ระบบ ดังแสดงในตารางที่ 3.3
ตารางที่ 3.3
ด้าน software ซอฟต์แวร์ระบบของระบบเดิม
2) กำหนดขอบเขตของปัญหาโดยยึดหลักความต้องการของผู้ใช้งาน
ข้อกำหนดความต้องการของระบบพรีออเดอร์สินค้า เพื่อจัดการข้อมูลอย่างเป็นระเบียบ สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ จำเป็นต้องทำการระบุความต้องการ เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาระบบต่อไป ในส่วนนี้ขอเสนอเฉพาะข้อกำหนดความต้องการของระบบที่สำคัญ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1) ความต้องการด้านหน้าบ้าน (Front End) หน้าที่หลักของระบบที่ต้องทำ สามารถแบ่งออกเป็นหัวข้อย่อยได้ดังนี้
1.1) ระบบสมัครสมาชิก รายละเอียดระบบสมัครสมาชิก มีดังนี้
1.1.1) ลูกค้าสามารถกดสมัครสมาชิกได้ด้วยตัวเอง
1.2) ระบบลงชื่อเข้าใช้ รายละเอียดระบบลงชื่อเข้าใช้ มีดังนี้
1.2.1) ลูกค้าสามารถกดลงชื่อเข้าใช้ได้ด้วยตัวเอง
1.3) ระบบแสดงข้อมูลสินค้า รายละเอียดระบบแสดงข้อมูลสินค้า มีดังนี้
1.3.1) สามารถแสดงข้อมูลสินค้าได้
1.3.2) สามารถแก้ไขข้อมูลสินค้าที่แสดงได้
1.4) ระบบแสดงประวัติต่างๆ รายละเอียดระบบแสดงประวัติต่างๆ มีดังนี้
1.4.1) สามารถแสดงแสดงประวัติการซื้อสินค้าของลูกค้าได้
1.4.2) สามารถแสดงแสดงประวัติการชำระเงินของลูกค้าได้
1.4.3) ระบบสามารถส่งข้อมูลไประบบฐานข้อมูลหลังบ้านได้
2) ความต้องการด้านหลังบ้าน (Back End) หน้าที่หลักของระบบที่ต้องทำ สามารถแบ่งออกเป็นหัวข้อย่อยได้ดังนี้
2.1) ระบบจัดการข้อมูลต่างๆ รายละเอียดระบบจัดการข้อมูลต่างๆ มีดังนี้
2.1.1) ระบบสามรถเพิ่มและแก้ไขข้อมูลสินค้าได้
2.1.2) ระบบสามรถเพิ่มและแก้ไขข้อมูลสมาชิกได้
2.2) ระบบแสดงข้อมูลต่างๆ รายละเอียดระบบแสดงข้อมูลต่างๆ มีดังนี้
2.2.1) ระบบสามรถแสดงข้อมูลลูกค้าได้
2.2.2) ระบบสามรถแสดงข้อมูลสินค้าได้
3) กำหนดขอบเขตในการพัฒนานวัตกรรม
3.1) แอดมินผู้ดูแลระบบ หรือผู้จัดการ
3.1.1) สามารถเพิ่มลบ แก้ไขข้อมูลสมาชิกได้
3.1.2) สามารถเพิ่มลบ แก้ไขข้อมูลสินค้าได้
3.1.3) สามารถเช็คและดูประวัติการสั่งสินค้า
3.1.4) สามารถตรวจสอบรายงานการซื้อขายในระบบได้
3.1.5) สามารถตรวจสอบค่ามัดจำของสินค้า
3.1.6) สามารถส่งการแจ้งเตือนยืนยันสินค้าได้
3.1.7) สามารถตรวจสอบข้อมูลการซื้อขายได้
3.1.8) สามารถตรวจสอบการซื้อขายรายวัน
3.2) พนักงานฝ่ายบัญชี
3.2.1) สามารถตรวจสอบการซื้อขายเป็นรายวันได้
3.2.2) สามารถกรอกข้อมูลสินค้าได้
3.2.3) สามารถเพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลสินค้าได้
3.2.4) สามารถตรวจสอบข้อมูลการซื้อขายรายวันเพื่อนำข้อมูลมาทำรายงานได้
3.3) สมาชิกหรือผู้ใช้งานทั่วไป
3.3.1) สามารถดูรายการตัวอย่างสินค้าในระบบได้
3.3.2) สามารถสั่งสินค้าในระบบได้
3.3.3) สามารถเช็คหรือดูประวัติการสั่งของได้
3.3.4) สามารถรับแจ้งเตือนการยืนยันของสินค้า
3.3.5) สามารถเพิ่มลบ แก้ไขข้อมูลสมาชิก
4.1) ด้าน hardware ระบบใหม่
ระบบใหม่มี hardware ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม ดังแสดงในตารางที่ 3.4
ตารางที่ 3.4
ด้าน hardware ระบบใหม่
4.2) ด้าน software ระบบใหม่
ระบบใหม่มี software ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม ดังแสดงในตารางที่ 3.5
ตารางที่ 3.5
ด้าน software ระบบใหม่
3.3 ข้อกำหนดเกี่ยวกับความต้องการของนวัตกรรม
ข้อกำหนดเกี่ยวกับความต้องการของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ ดังตารางที่ 3.6 ถึง 3.12
ตารางที่ 3.6
ระบบลงทะเบียนลูกค้า
ตารางที่ 3.7
ระบบสั่งสินค้า
ตารางที่ 3.8
ระบบชำระเงิน
ตารางที่ 3.9
ระบบการแจ้งเตือน
ตารางที่ 3.10
ตรวจสอบประวัติการสั่งซื้อสินค้า
ตารางที่ 3.11
ตรวจสอบการซื้อขายรายวัน
ตารางที่ 3.12
ระบบจัดการข้อมูลสินค้า
3.4 การออกแบบนวัตกรรม
การออกแบบด้าน software องค์ประกอบนวัตกรรม ประกอบด้วย
ภาพที่ 3.2
แผนภาพบริบท
2) แผนภาพระดับที่ 0
ภาพที่ 3.3
แผนภาพระดับที่ 0
3) แผนภาพระดับที่ 1
ภาพที่ 3.4
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 ของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
ภาพที่ 3.5
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 ของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
ภาพที่ 3.6
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 ของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
ภาพที่ 3.7
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 ของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
4) พจนานุกรมและคำอธิบายกระบวนการระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ ดังตารางที่ 3.13 ถึง 3.25
ตารางที่ 3.13
ตารางข้อมูลลูกค้า
ตารางที่ 3.14
ตารางข้อมูลพนักงานฝ่ายบัญชี
ตารางที่ 3.15
ตารางข้อผู้จัดการ
ตารางที่ 3.16
ตารางข้อมูลสินค้า
ตารางที่ 3.17
ตารางข้อมูลลูกค้ากับสินค้าที่ซื้อไป
ตารางที่ 3.18
ตารางข้อมูลรายละเอียดออเดอร์
ตารางที่ 3.19
ตารางข้อมูลธนาคาร
ตารางที่ 3.20
อธิบายของกระบวนการที่ 1 ลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบ
ตารางที่ 3.21
อธิบายของกระบวนการที่ 2 จัดการข้อมูลสินค้า
ตารางที่ 3.22
อธิบายของกระบวนการที่ 3 ขายสินค้า
ตารางที่ 3.23
อธิบายของกระบวนการที่ 3.1 กำลังดำเนินการ
ตารางที่ 3.24
ธิบายของกระบวนการที่ 3.2 ดำเนินการเสร็จสิ้น
ตารางที่ 3.25
อธิบายของกระบวนการที่ 4 รายงานข้อมูล
5) แบบจำลองข้อมูลระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
ภาพที่ 3.8
บบจำลองข้อมูลของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
6) การออกแบบฐานข้อมูลระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ ดังตารางที่ 3.25 ถึง 3.32
ตารางที่ 3.26
ตารางข้อมูลลูกค้า
ตารางที่ 3.27
ตารางข้อมูลพนักงานฝ่ายบัญชี
ตารางที่ 3.28
ตารางข้อมูลผู้จัดการ
ตารางที่ 3.29
ตารางข้อมูลสินค้า
ตารางที่ 3.30
ตารางข้อมูลลูกค้ากับสินค้าที่ซื้อไป
ตารางที่ 3.31
ตารางข้อมูลรายระเอียดออเดอร์
ตารางที่ 3.32
ตารางข้อมูลธนาคาร
7) การออกแบบผลลัพธ์ของระบบ (แนบแบบร่าง ผลลัพธ์ของระบบ ทุกหน้า)
ภาพที่ 7.1
หน้าหลัก
8) การออกแบบส่วนนำเข้าข้อมูล (แนบแบบร่าง ผลลัพธ์ของระบบ ทุกหน้า)
ภาพที่ 8.1
หน้าเข้าสู่ระบบ
ภาพที่ 8.2
หน้าเพิ่มข้อมูลสินค้า
9) การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (แนบแบบร่าง ผลลัพธ์ของระบบ ทุกหน้า)
การออกแบบด้าน hardware องค์ประกอบนวัตกรรม ประกอบด้วย
ภาพที่ 9.1
หน้าตารางข้อมูลสินค้า
3.5 การทดสอบระบบ
1) ผลลัพธ์ของระบบ
(1) การทดสอบระบบสมัครสมาชิก
(2) การทดสอบระบบลงชื่อเข้าใช้
(3) การทดสอบระบบแสดงตัวอย่างสินค้า
(4) การทดสอบระบบสรุปการขายสินค้าในแต่ละวัน
(5) การทดสอบระบบการคำนวณราคารวมของสินค้า
2) ส่วนนำเข้าข้อมูล
(6) การทดสอบระบบเพิ่มข้อมูลสินค้า
(7) การทดสอบระบบเพิ่มข้อมูลสมาชิก
3) ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้
(8) การทดสอบระบบแสดงข้อมูลสมาชิก
(9) การทดสอบระบบแก้ไขข้อมูลส่วนตัวสมาชิก
(10) การทดสอบระบบแก้ไขข้อมูลสินค้า
(11) การทดสอบระบบจัดการข้อมูลการชำระเงิน
3.6 การออกแบบประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม
1) แบบประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรมระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ มีดังนี้
ตารางที่ 3.33
แบบประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรมระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
2) แบบสรุปผลการเมินประสิทธิภาพของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
ตารางที่ 3.34
แบบสรุปผลการเมินประสิทธิภาพของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
3) แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
ตารางที่ 3.35
แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
3.7 การออกแบบประเมินความพึงพอใจการใช้นวัตกรรม
1) แบบประเมินความพึงพอใจในระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ดูแลระบบ
1.1) แบบประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ดูแลระบบ
ตารางที่ 3.36
แบบประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ดูแลระบบ
1.2) แบบสรุปการประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ดูแลระบบ
ตารางที่ 3.37
แบบสรุปการประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ดูแลระบบ
1.3) แบบประเมินความพึงพอใจของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ดูแลระบบ
ตารางที่ 3.38
แบบประเมินประเมินความพึงพอใจของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ดูแลระบบ
2) แบบประเมินความพึงพอใจในระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับพนักงานบัญชี
2.1) แบบประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับพนักงานบัญชี
ตารางที่ 3.39
แบบประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับพนักงานบัญชี
2.2) แบบสรุปการประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับพนักงานบัญชี
ตารางที่ 3.40
แบบสรุปการประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับพนักงานบัญชี
2.3) แบบประเมินความพึงพอใจของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับพนักงานบัญชี
ตารางที่ 3.41
แบบประเมินประเมินความพึงพอใจของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับพนักงานบัญชี
3) แบบประเมินความพึงพอใจในระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ใช้งาน
3.1) แบบประเมินความพึงพอใจของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ใช้งาน
ตารางที่ 3.42
แบบประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับพนักงานบัญชี
3.2) แบบสรุปการประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ใช้
ตารางที่ 3.43
แบบสรุปการประเมินหาค่าความสอดคล้องของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ใช้งาน
3.3) แบบประเมินความพึงพอใจของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ใช้
ตารางที่ 3.44
แบบประเมินความพึงพอใจของระบบพรีออเดอร์สินค้าสำหรับผู้ใช้งาน
3.8 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง<
1) ประชากรที่ใช้ในการดำเนินโครงการ คือ แอดมินหรือผู้ที่มีประสบการณ์การใช้งานระบบ พนักงานฝ่ายบัญชี และผู้ใช้งานทั่วไป
2) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ แอดมินหรือผู้ที่มีประสบการณ์การใช้งานระบบ ผู้จัดการ พนักงานฝ่ายบัญชี และผู้ใช้งานทั่วไป กลุ่มประชากรที่กล่าวมาข้างต้น เป็นกลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษาและทดลองใช้งานระบบหรือนวัตกรรม จำนวนทั้งหมด 20 คน มีทั้งหมดดังนี้
กลุ่มเป้าหมายที่ 1 เพื่อทดลองใช้ เแอดมินหรือผู้ดูแลระบบโดยกำหนดจาก ผู้ดูแลที่มีประสบการณ์ในบริษัท จำนวน 5 คน
กลุ่มเป้าหมายที่ 2 เพื่อทดลองใช้ พนักงานฝ่ายบัญชี โดยกำหนดจาก ผู้ดูแลที่มีประสบการณ์ในบริษัท จำนวน 5 คน
กลุ่มเป้าหมายที่ 3 เพื่อใช้ สมาชิกหรือลูกค้า โดยกำหนดจาก ผู้ที่มีประสบการณ์เป็นสมาชิกของบริษัท จำนวน 10 คน
3.9 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ มีขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล แผนผัง Flowchart ดังนี้ ดังภาพที่ 3.
ภาพที่ 3.9
แผนผังการการเก็บรวบรวมข้อมูล
จากภาพที่ 3. อธิบายได้ดังนี้
1) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากสมาชิกผู้ใช้งาน จำนวน 20 คน
2) ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้าหมายที่ 3
3) ระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ ตามผลการทดลอง
4) บันทึกผลการทดสอบ ระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ ลงแบบประเมินประสิทธิภาพ
5) จัดทำรายงานผลการ ระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
6) ใช้งานจริง ระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ กับกลุ่มเป้าหมายที่ 1 และกลุ่มเป้าหมายที่ 2
7) ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจจากผู้ใช้งาน ระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
8) วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามเพื่อจัดทำรายงานการใช้งาน ระบบพรีออเดอร์สินค้า สำหรับผู้ประกอบธุรกิจ
3.10 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์แบบสอบถามหรือแบบประเมินความพึงพอใจ ทางผู้พัฒนาได้เลือกใช้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
1) ค่าเฉลี่ย ใช้เพื่อหาค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างโดยการเฉลี่ยจากค่าน้ำหนักของข้อมูลที่ได้ เพราะข้อมูลที่ได้มีค่าน้ำหนักต่างกัน เพื่อที่ได้จะแบ่งระดับค่าเฉลี่ยในแบบสอบถาม ออกมาเป็นเกณฑ์คร่าวๆ 5 ข้อ ตัวอย่างเช่น
ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4.00 ดีมาก
3.50 – 3.99 ดี
3.00 – 3.49 พอใช้
2.51 – 2.99 ควรปรับปรุง
น้อยกว่า 2.50 ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง เป็นต้น
จากนั้นจะเอาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หัวข้อในแบบสอบถามแต่ละข้อว่า ข้อใดบ้างที่ควรปรับปรุง ข้อใดบ้างที่ไม่ต้องปรับปรุง
2) ค่าร้อยละ เพื่อใช้แปลความหมายของข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการนำเสนอข้อมูลผ่านตารางแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละที่ได้จะมาจากคะแนนที่ได้เอาไปคูณ 100 แล้วหารด้วยคะแนนเต็ม
3) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อใช้หาค่าเบี่ยงเบนจากเกณท์มาตราฐานของกลุ่มข้อมูลในแต่ละเกณฑ์หรือหาความแตกต่างของข้อมูลในแต่ละกลุ่มหรือแต่ละเกณฑ์ของค่าเฉลี่ย