ระบบเว็บไซต์แบบฝึกหัดเสริมทักษะการเรียนรายวิชาโครงการ 1-2 ออนไลน์
Website Learning Exercises for Learning Skills in Project Curriculum 1-2
ออกแบบและพัฒนาระบบ โดย ครูแดงต้อย คนธรรพ์
 
ชื่อผู้ใช้  
จำรหัสผ่าน
 
 

 

 

บทความโครงการนักศึกษา

 

 

1.ชื่อโครงการ การพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ
2.จัดทำโดย

1) นาย ธนากร อินตุ้ย รหัสประจำตัวนักศึกษา 5931280028

2) นาย ชัยวัชร ไชยศิริวัฒนากุล รหัสประจำตัวนักศึกษา 5931280042

3.อีเมลล์ online_153@hotmail.co.th / wetam_za@hotmail.com
4.บทคัดย่อ

        โครงการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบ แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ และยังมีส่วนช่วยเพิ่มความสะดวกสบายให้กับผู้ใช้ในการค้นหาข้อมูลโรคผู้ป่วยหรือเมนูเเนะนำ ซึ่งทำให้ประหยัดเวลาการในหาข้อมูลผู้ป่วย ซึ่งมีการศึกษาและวิเคราะห์ ความต้องการต่างๆของผู้ใช้เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด
         การดำเนินการโครงการใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 20 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย ( x ¯ )  และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยมีการสอนการใช้แอปพลิเคชั่นครั้งแรก จากนั้นจึงให้ทดลองใช้แอปพลิเคชั่นด้วยตนเอง เสร็จแล้วให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบ ผลการดำเนินการวิจัย พบว่า แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ ผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.01

5.บทนำ

        ในปัจจุบันมีจำนวนผู้ป่วยมากมายหลากหลายโรค และยังมีอาการของโรคที่ต่างกันออกไป แต่ยังมีกลุ่มคนในจำนวนผู้ป่วยนั้นที่ต้องการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพของผู้ป่วย แต่ไม่รู้ว่าต้องทานอาหารชนิดใดที่ดีต่อสุขภาพของโรคผู้ป่วย ซึ่งการจัดทำ แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ นี้ขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มคนนั้น ปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ เช่น ไม่รู้ว่าต้องทานประเภทใด และวิธีการดูแลรักษายังไง เป็นต้น เนื่องจากมีผู้ป่วยที่รับประทานอาหารที่ไม่เหมาะกับโรคของผู้ป่วยจะทำให้ผู้ป่วยหายจากโรคที่เป็นอยู่ช้าหรืออาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยหนักแบบรุนแรงมากขึ้นเพราะอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ
        ผู้จัดทำจึงอยากใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยไม่ก่อให้เกิดปัญหาโดยกลุ่มคนที่ประสบปัญหาดังกล่าวนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการนี้โดนตรงทั้งในด้านการศึกษาและชีวิตประจำวันในการอำนวยความสะดวกแก่กลุ่มคนเหล่านั้นที่กำลังประสบปัญหา และยังสร้างสิ่งที่ได้เรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในสังคมเพราะฉะนั้นการเข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็วจึงเป็นประโยชน์อย่างมาก
        ดั้งนั้นผู้จัดทำจึงเล็งเห็นว่า การนำเอาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุดโดยการจัดทำ แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่กลุ่มผู้ป่วยที่ประสบปัญหาผู้รับประทานอาหารไม่ตรงกับโรคได้มีทางเลือกที่ดีที่สุดและเป็นการพัฒนาการใช้สื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

6.วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1) เพื่อพัฒนาแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ

2) เพื่อหาประสิทธิภาพของ แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ

7.ขอบเขตของการวิจัย

1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 20 คน

2) เนื้อหาสาระที่ต้องการพัฒนา คือ แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู่ป่วยโรคต่างๆ

3) ระยะเวลาในการดำเนินโครงการวิจัย คือ  ตลอดภาคเรียน ที่ 1และ2 ปีการศึกษา 2560

8.สมมติฐาน

แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆสามารถค้นหาชื่อโรคต่างๆ, สาเหตุของการป่วยเป็นโรค ,อาการป่วยของโรคนั้นได้โดยไม่ต้องใช้อินเตอร์เน็ต

9.วิธีดำเนินการวิจัย

1) ศึกษาข้อมูลเพื่อเตรียมการโครงการ ผู้จัดทำได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคต่างๆ

2) วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวการทำงานของแอพพลิเคชั่นและกำหนดขอบเขตเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน

3) การสร้างและออกแบบ แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ

4) ทดสอบหาประสิทธิภาพของแอพพลิเคชั้นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ มีการใช้แบบประเมินประสิทธิภาพจากผู้เชี่ยวชาญ และแบบประเมินความพึงพอใจจากผู้ทดลองใช้

5) กำหนดกลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 20 คน วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง

6) สอนการใช้งานแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ ให้กับที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง

7) ให้กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ

9.1ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา จำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการเจาะจง

 

10.สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ การพัฒนาเเละหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ มีขั้นตอนในการออกแบบ
โดยมีรายระเอียด ดังเเสดงในภาพที่ 1

                           ภาพที่ 1 ลำกับขั้นตอนการดำเนินโครงการ

11.1  วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประเมินความต้องการของผู้ใช้แอพพลิเคชั่น
11.2  ศึกษาทฤษฏีเเละหลักการที่เกี่ยวข้อง
11.3  กำหนดขอบเขตของแอพพลิเคชั่น เเละฐานข้อมูลที่ใช้เขียนเเอพ
11.4  ออกแบบเเละพัฒนาเเละหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั้นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ
         11.4.1  แผนผังการพัฒนาเเละหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ
ดังเเสดงในภาพที่ 2
                                                                           ภาพที่ 2 แผนผังการทำงาน

        11.4.2  การทำงานของการพัฒนาเเละหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ
ดังเเสดงในภาพที่ 3

                                                  ภาพที่ 3 การทำงานของแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ

11.5  แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ
         11.5.2  การใช้งานแอพพลิเคชั่น
                     11.5.2.1  ภาพรวมของแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ เมนูสำหรับโรคผู้ป่วยให้เลือก
ดังเเสดงในภาพที่ 4
                                       
                                                ภาพที่ 4 เมนูสำหรับโรคผู้ป่วยให้เลือก

                   11.5.2.2  เมนูเเรก แอพพลิเคชั่นจะมีช่องให้กรอกโรคของผู้ป่วย ดังเเสดงในภาพที่ 5
                                     
                                    ภาพที่ 5 แอพพลิเคชั่นจะมีช่องให้กรอกโรคของผู้ป่วย

                   11.5.2.3  เมนูที่สองจะแสดงหน้าความรู้เบื้องต้นของโรคต่างๆ ดังเเสดงในภาพที่ 6
                                      
                                           ภาพที่ 6 แสดงความรู้เบื้องต้นของโรคต่างๆ

                   11.5.2.4  เมนูที่สามแอพพลิเคชั่นจะแสดงเมนูการควบคุมอาหารของโรคต่างๆ
ดังเเสดงในภาพที่ 7
                                      
                                      ภาพที่ 7 แสดงการควบคุมอาหารของโรคต่างๆ 

11.6  ออกแบบเครื่องมือที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพ
                      แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
ตารางที่ 1 แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามของผู้ทรงคุณวุฒิ
 

                        การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ
ตารางที่ 2 การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทงคุณวุฒิ

 แสดงการคิดคำนวณค่า IOC
                         ข้อ 1  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 2   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 3   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 4   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 5   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 6   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 7   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 8   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้     
                         ข้อ 9   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้                     
                          ข้อ 10 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                           ข้อ 11 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                       มีค่าน้อยกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                            ข้อ 12 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้

แบบประเมินผลความพึงพอใจในการพัฒนาและประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่าวโรคต่างๆ
แบบประเมินผลความพึงพอใจในการพัฒนาและประสิทธิภาพ แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่าวโรคต่างๆ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็น ของผู้ใช้ที่มีต่อโปรแกรมผลการประเมินของท่านจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ในการปรับปรุงแอพพลิเคชั่นให้มีความสมบูรณ์และดียิ่งขึ้นไป
คำชี้แจง แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน
               ตอนที่  1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
               ตอนที่  2 ความสะดวกในการใช้งานแอพอาหารสำหรับผู้ป่วย มีทั้งหมด 3 ด้านดังนี้
    ด้านที่ 1 ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้แอพพลิเคชั่น
                   ด้านที่ 2 ด้านการทำงานตามฟังก์ชั่นการทำงาน
                   ด้านที่ 3 ด้านความง่ายต่อการใช้แอพพลิเคชั่น
              ตอนที่  3 เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ                                      
ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
                           

ตอนที่  2 เป็นแบบประเมินความพึงพอใจ ในใช้ แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วย
               ซึ่ง ประเมิน ทั้งหมด 3 ด้านดังนี้
     ด้านที่ 1 ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้แอพพลิเคชั่น
                     ด้านที่ 2 ด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน
                     ด้านที่ 3 ด้านความง่ายต่อการใช้แอพพลิเคชั่น
คำชี้แจง  โปรดทำเครื่องหมาย P ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด
                                   5 หมายถึง ในระดับดี มากที่สุด
                                   4 หมายถึง ในระดับดี มาก
                                   3 หมายถึง ในระดับดี ปานกลาง
                                   2 หมายถึง ในระดับดี น้อย
                                   1 หมายถึง ในระดับดี น้อยที่สุด
ตารางที่ ก.1 แบบประเมินผลความพึงพอใจในการใช้ แอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ

 ข้อเสนอเเนะ
  .......................................................................................................................
11.ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โครงการครั้งนี้ เลือกนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา เพื่อหาคำตอบของโครงการครั้งนี้โดยกำหนดเป็นขั้นตอนได้ดังนี้
                   ภาพที่ 8 ผังเเสดงกระบวนการวิเคราะห์ออกแบบเครื่องมือสำหรับการประเมิน

                          
                             ภาพที่ 9
การใช้งานแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ
                         
                            ภาพที่ 10 การใช้งานแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ
12.วิเคราะห์ข้อมูล

1)  การวิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมิณ
     การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบประเมินและวัตถุประสงค์                                                   
                            
            IOC   คือ ค่าดัชนีความสอดคล้อง(Index of Congruency)
               คือ ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
             N      คือ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
2)  การวิเคราะห์หาคุณภาพชุดการสอนจากผู้เชี่ยวชาญ
                แทน คะแนนเฉลี่ย
                แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
               N     แทน จำนวนข้อมูล
 3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard Deviation)
                         
      S.D       คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง  
         คือ ผลของคะแนนแต่ละตัวยกกำลังสอง
         คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลังสอง
        N       คือ จำนวนข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง 

13.ผลของการวิจัย การวิเคราะห์โครงการสร้างและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ มีการวิเคราะห์โดยแยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำเสนอตามลำดับ ดังต่อไปนี้
 
           โดยขอนำเสนอตามลำดับ โดยเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล รวม 6 ตอนดังนี้
                        ตอนที่ 1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
                        ตอนที่ 2  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
                        ตอนที่ 3  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้แอพพลิเคชั่นด้านโครงสร้าง
                        ตอนที่ 4  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้แอพพลิเคชั่นด้านการทำงาน
                        ตอนที่ 5  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้แอพพลิเคชั่นในด้านง่ายต่อการใช้งาน
                        ตอนที่ 6  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้แอพพลิเคชั่นด้านคุณค่า
                        ตอนที่ 7  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้แอพพลิเคชั่นด้านภาพรวมทุกด้าน

ตอนที่ 1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม

       จากตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ พบว่า การเเสดงข้อมูลเนื้อหาผู้ป่วย สามารถเเสดงข้อมูลเนื้อหาบนแอพพลิเคชั่นได้ การค้นหาเมนูเเนะนำ สามารถเเสดงข้อมูลเนื้อหาบนแอพพลิเคชั่นได้ การควบคุมอาหารสำหรับผู้ป่วย สามารถเเสดงข้อมูลเนื้อหาบนแอพพลิเคชั่นได้ การรักษาโรค สามารถเเสดงข้อมูลเนื้อหาบนแอพพลิเคชั่นได้ การรองรับการติดตั้งในระบบ สามารถเเสดงข้อมูลเนื้อหาบนแอพพลิเคชั่นได้

ตอนที่ 2.ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม

        จากตารางที่4.2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทั้ง 20คน เป็นเพศชาย20คน คิดเป็น 100% และอายุ ส่วนใหญ่อยู่ที่เกณฑ์16-20 ปี คิดเป็น 100% ประสบการณ์ใช้งานโปรแกรมคิดเป็น 100%

ตอนที่ 3.ผลการวิเคราห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านความสำคัญของแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆที่นำมาใช้งาน​

       จากตารางที่ 4.3 แสดงว่าความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นข้อมูลร้านซ่อมรถสำหรับผู้ประสบเหตุที่ผ่านการใช้แอปพลิเคชั่นข้อมูลร้านซ่อมรถ ด้านความสำคัญของแอปพลิเคชั่นข้อมูลร้านซ่อมรถที่นำมาใช้งาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.05) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบกว่าทุกรายการประเมินอยู่ในระดับมาก โดยความพึ่งพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นข้อมูลร้านซ่อมรถด้านความสำคัญมีค่าเฉลี่ยนมากที่สุด (x̅ = 4.14) และค่าเฉลี่ยนน้อยที่สุด (x̅ = 3.81) 

ตอนที่ 4.ผลการวิเคราห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านความสะดวกในการใช้งานแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ

       จากตารางที่ 4.4 แสดงว่าความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆสำหรับผู้ประสบเหตุที่ผ่านการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ ด้านความสะดวกในการใช้งานแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.14) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบกว่าทุกรายการประเมินอยู่ในระดับมาก โดยความพึ่งพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆด้านความสะดวกมีค่าเฉลี่ยนมากที่สุด (x̅ = 4.41) และค่าเฉลี่ยนน้อยที่สุด (x̅ = 3.82) 

ตอนที่ 5.ผลการวิเคราห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านความสนใจของผู้ประสบเหตุต่อการค้นหาร้านซ่อมรถผ่านแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ

      จากตารางที่ 4.5 แสดงว่าความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆสำหรับผู้ประสบเหตุที่ผ่านการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ ด้านความสนใจในการใช้งานแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.81) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบกว่าทุกรายการประเมินอยู่ในระดับมากและส่งเสริมด้านความคิดการแก้ไขปัญหาให้ประสบการณ์ที่เป็นจริง โดยความพึ่งพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆด้านความสนใจมีค่าเฉลี่ยนมากที่สุด (x̅ = 4.01) และค่าเฉลี่ยนน้อยที่สุด (x̅ = 3.22) 

ตอนที่ 6.ผลการวิเคราห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่าโดยสรุป​

       จากตารางที่ 4.6 แสดงว่าความพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆสำหรับผู้ประสบเหตุที่ผ่านการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ ด้านคุณค่าในการใช้งานแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ  และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบกว่าทุกรายการประเมินอยู่ในระดับมาก โดยความพึ่งพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆด้านคุณค่ามีค่าเฉลี่ยนมากที่สุด (x̅ = 4.43) และค่าเฉลี่ยนน้อยที่สุด (x̅ = 4.27) 

ตอนที่ 7.ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน​

       จากตารางที่ 4.7 แสดงว่าความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆสำหรับผู้ประสบเหตุที่ผ่านการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ ภาพรวมทุกด้านในการใช้งานแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.29) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่าทุกรายการประเมินอยู่ในระดับมาก โดยความพึ่งพอใจในการใช้แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆภาพรวมทุกด้านมีค่าเฉลี่ยนมากที่สุด (x̅ = 4.41) และค่าเฉลี่ยนน้อยที่สุด (x̅ = 3.98) 
 
14.การอภิปรายผล

 จากผลการศึกษาและพัฒนาแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ พบว่า แอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ ที่นำมาใช้งาน นั้นมีความสำคัญต่อผู้ประสบปัญหาอาการของโรคที่ไม่รู้จะรับประทานอาหารชนิดใดที่ดีต่อสุขภาพของโรคผู้ป่วย เพราะในสังคมปัจจุบันมีการทำงานแข่งกับเวลาตลอด ดังนั้นหากเราเสียเวลากับการหาข้อมูลอาหารสำหรับโรคที่เป็นอยู่เราอาจเสียทั้งการงานหรือการเรียน ฉะนั้นการเข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็วจึงเป็นประโยชน์อย่างมาก
         นอกจากความสำคัญของแอปพลิเคชั่นแล้วยังมีความสะดวกในการใช้งานโดยแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ นี้ มีความสะดวกในการใช้งานอยู่ในระดับ ดีมาก เพราะตัวแอปพลิเคชั่นมีขนาดไฟล์ที่ไม่ใหญ่ สามารถโอนย้ายข้อมูลไปยังสมาร์ทโฟนเครื่องอื่นๆได้รวดเร็ว แอปพลิเคชั่นการใช้งานเข้าใจง่าย ความเข้าใจของผู้ประสบปัญหาต่อแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ นั้นโดยภาพรวมนั้นอยู่ในระดับ ดีมาก ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากประสิทธิภาพและความสำคัญของแอปพลิเคชั่น ผู้ประสบปัญหาที่ได้ผ่านการใช้งานจากแอปพลิเคชั่นอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคต่างๆ นั้นมีความรู้สึกอุ่นใจและสบายใจ เนื่องจากได้รับประสบการณ์ตรงจากเรื่องจริง

15.ข้อเสนอแนะ

1) ควรศึกษาในด้านการใช้งานแอพพลิเคชั่นการทำงานเบื้องต้นก่อนใช้งาน

2) ควรปฏิบัติตามข้อเเนะนำคู่มือการใช้งาน

16.บรรณานุกรม

แดงต้อย คนธรรพ์. โครงการ(Project) พิมพ์ครั้งที่ 1. นนท์บุรี: บริษัทศูนย์หนังสือ เมืองไทย จำกัด,2557     

ภาษาคอมพิวเตอร์. 2560. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

https://sites.google.com/site/programcomputer56/home/phasa-khxmphiwtexr

Android Studio. 2560. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

http://www.thaicreate.com/mobile/android-studio-ide.html

Android OS. 2560. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

http://sakunrat3-45.blogspot.com/2012/05/blog-post_21.html

Adobe Photoshop CS6. 2560. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

https://sites.google.com/site/khwamruphunthanphotoshopcs6/1-khunsmbati-phun-than-khxng-porkaerm

ระบบฐานข้อมูล. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

https://goo.gl/smequf

โครงการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง. 2560. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

http://paipipat.com/index2.php?id=13

แอปพลิเคชั่น. 2560. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

https://goo.gl/7oZxyi

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคต่างๆ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

https://www.siamhealth.net/public_html/index0/disea.htm

17.ประวัติผู้จัดทำ                           
ชื่อ-สกุล               นาย ธนากร อินตุ้ย
เกิดเมื่อวันที่         7 กรกฎาคม2540
ที่อยู่ปัจจุบัน         186/2 หมู่8 อ.ร้องกวาง จ.แพร่
วุฒิการศึกษา       ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
                          สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟแวร์
เบอร์โทร              0820322438
อีเมล์                   online_153@hotmail.co.th

                          
ชื่อ-สกุล               นาย ชัยวัชร ไชยศิริวัฒนากุล
เกิดเมื่อวันที่         17 พฤษภาคม 2540
ที่อยู่ปัจจุบัน         414 หมู่7 อ.เด่นชัย จ.แพร่ 54110
วุฒิการศึกษา       ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
                          สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟแวร์
เบอร์โทร              0992379038
อีเมล์                    wetam_za@hotmail.com
18.ลิงค์ยูทูป