ระบบเว็บไซต์แบบฝึกหัดเสริมทักษะการเรียนรายวิชาโครงการ 1-2 ออนไลน์
Website Learning Exercises for Learning Skills in Project Curriculum 1-2
ออกแบบและพัฒนาระบบ โดย ครูแดงต้อย คนธรรพ์
 
ชื่อผู้ใช้  
จำรหัสผ่าน
 
 

 

 

บทความโครงการนักศึกษา

 

 

1.ชื่อโครงการ การพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิก
2.จัดทำโดย นางสาว กนกมาศ กันทาท้าว
นาย ณัฐพงษ์ ธรรมสอน
3.อีเมลล์ meaw0667@gmail.com nuttanut109@gmail.com
4.บทคัดย่อ ชื่อ : นางสาว กนกมาศ กันทาท้าว และ นาย ณัฐพงษ์ ธรรมสอน
ชื่อเรื่อง : การพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิก
สาขาวิชา : เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
สาขางาน : สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
ที่ปรึกษา : แดงต้อย คนธรรพ์
ปีการศึกษา : 2565

การพัฒนาแอพพลิเคชั่นแบบใหม่ใหม่ มีจุดประสงค์ในการความสะดวกในการเข้ารับบริการในสถานพยาบาลต่างๆ เพื่อทราบถึงวัตถุประสงค์และความต้องการในการเข้ารับการบริการในคลินิกนั้นๆ โดยวัดประเมินจากสภาพที่แท้จริง มีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลาย แอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก ถือเป็นผู้ช่วยที่ตอบโจทย์ความต้องการได้เป็นอย่างดี แม้ไม่ได้อยู่ในพื้นที่รอคิวแต่ก็สามารถจองและบริหารเวลาในระหว่างรอได้เป็นอย่างดี
               วัตถุประสงค์ของแอพพลิเคชั่นนี้ มีวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย เมื่อเรานึกถึงการรีบเร่งออกจากบ้าน เพื่อไปรอคิวที่หน้าคลินิกโดยไม่ทราบว่ามีคนรอเยอะแค่ไหน หรือแม้แต่การนั่งรอผุ้มาใช้บริการก่อนในการตอบคำถามจากแพทย์ที่เป็นเวลานานทำให้เสียเวลาในการทำกิจกรรมอย่างอื่นเป็นอย่างมาก
               จากผลการสร้างระบบพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิก สามารถทำงานได้จริงตามที่ออกแบบ แบ่งการทดสอบเป็น 4 ด้าน คือ 1) ด้านการนำเข้าข้อมูลระบบ 2)  ด้านการประมวลผล , 3) ด้านการรายงานข้อมูลระบบ, 4) ด้านความปลอดภัยระบบ โดยจุดเด่นของระบบพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิก คือ ความสามารถการสมัครสมาชิกเพื่อเข้าสู่ระบบ, ความสามารถการสมัครสมาชิกเพื่อเข้าสู่ระบบ. ความสามารถการกรอกข้อมูลอาการป่วยของผู้ป่วยที่ใช้บริการความสามารถการกรอกข้อมูลอาการป่วยของผู้ป่วยที่ใช้บริการ, ความสามารถการเลือกวันและเวลาเพื่อกำหนดคิวนัดในการรักษา, ความสามารถการทำเรื่องขอเลื่อนนัดในการรักษา, ความสามารถการบันทึกประวัติของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา, ความสามารถการบันทึกประวัติการรักษาของผู้ป่วย, ความสามารถการบันทึกการสั่งจ่ายยา, สามารถสมัครสมาชิกเพื่อเข้าสู่ระบบได้, สามารถกรอกข้อมูลของผู้ใช้งานระบบได้, สามารถสร้าง Username และ Password เพื่อเข้าใช้งานระบบได้, สามารถกรอกข้อมูลอาการป่วยของผู้ป่วยที่ใช้บริการได้, สามารถตรวจสอบและยืนยันการเลือกวันและเวลาในการกำหนดคิวได้, สามารถตรวจสอบและยืนยันการทำเรื่องขอเลื่อนนัดในการรักษาได้, สามารถบันทึกประวัติของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาได้, สามารถบันทึกประวัติการรักษาของผู้ป่วยได้, สามารถบันทึกการสั่งจ่ายยาได้, สามารถแจ้งเตือนผู้ใช้งานผ่าน SMS ก่อนถึงเวลานัดหมาย, แสดงข้อมูลของผู้ใช้งานในระบบ, แสดงข้อมูลการรักษาผู้ป่วย, แสดงรายการจองคิวของผู้ใช้งานระบบ, แสดงรายการใบเสร็จการรักษาและการจ่ายยา, แสดงรายการสรุปยอดผู้ใช้งานระบบ, การกำหนดสิทธิ์การเข้าใช้ระบบเกิดความปลอดภัยในการใช้งาน, การกำหนดสิทธิ์แก้ไข เพิ่ม ลบข้อมูลของผู้ใช้งานระบบ, การกำหนดสิทธิ์ความปลอดภัยของการเข้าถึงข้อมูลอยู่ในระดับมากที่สุด
5.บทนำ                การพัฒนาแอพพลิเคชั่นแบบใหม่ใหม่ มีจุดประสงค์ในการความสะดวกในการเข้ารับบริการในสถานพยาบาลต่างๆ เพื่อทราบถึงวัตถุประสงค์และความต้องการในการเข้ารับการบริการในคลินิกนั้นๆ โดยวัดประเมินจากสภาพที่แท้จริง มีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลาย แอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก ถือเป็นผู้ช่วยที่ตอบโจทย์ความต้องการได้เป็นอย่างดี เพียงแค่มีสมาร์ทโฟนก็สามารถพกผู้ช่วยการจองคิวไปได้ทุกที่ แม้ไม่ได้อยู่ในพื้นที่รอคิวแต่ก็สามารถจองและบริหารเวลาในระหว่างรอได้เป็นอย่างดี อีกทั้งเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งของบุคลากรทางการแพทย์ ที่ใช้ในการถาม-ตอบผู้ที่มาใช้บริการได้ทุกที่ทุกเวลาอีกด้วย
               วัตถุประสงค์ของแอพพลิเคชั่นนี้ มีวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย เมื่อเรานึกถึงการรีบเร่งออกจากบ้าน เพื่อไปรอคิวที่หน้าคลินิกโดยไม่ทราบว่ามีคนรอเยอะแค่ไหน หรือแม้แต่การนั่งรอผุ้มาใช้บริการก่อนในการตอบคำถามจากแพทย์ที่เป็นเวลานานทำให้เสียเวลาในการทำกิจกรรมอย่างอื่นเป็นอย่างมาก
               ดังนั้น จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการคลินิก เพื่อแก้ปัญหาเดิมในการเสียเวลาเพื่อไปจองคิวที่คลินิก ให้มาอยู่ในแอพพลิเคชั่นที่สามารถจองคิว และพูดคุยโต้ตอบกับแพทย์ได้โดยตรง ทั้งยังสามารถช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินต่อผู้ป่วยที่อยู่ไกลจากคลินิกได้อีกด้วย
6.วัตถุประสงค์ของการวิจัย 6.1 เพื่อพัฒนาการจองคิวและการจัดการคลินิก
6.2 เพื่อหาประสิทธิภาพของ แอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก
7.ขอบเขตของการวิจัย 7.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือ
          ประชากร บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ป่วย ผู้ต้องการใช้บริการคลินิก
กลุ่มตัวอย่าง บุคลากรทางการแพทย์ในคลินิกบ้านสวนสหคลินิก ผู้มาใช้บริการจำนวน 10 คน
7.2 เนื้อหาสาระที่ต้องการพัฒนา
แอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก มีความสามารถดังนี้
(1)  เริ่มต้นการใช้งาน
               (1.1)  สมัครสมาชิก : คือ กรอกข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลต่างๆที่ใช้ในการสมัครสมาชิก
               (1.2)  ตรวจสอบประวัติ : ตรวจสอบและแก้ไขประวัติส่วนแลประวัติการรักษาได้
               (1.3)  จองคิว : เช็คคิวที่ว่างเพื่อเลือกเวลาจองคิว หรือเลื่อนนัดคิว
(2)  ระบบสมัครสมาชิก
               (1.1)  กรอกข้อมูล : คือ กรอกข้อมูลส่วนตัวและประวัติการรักษา (หากมี) ของผู้ป่วยหรือผู้ต้องการใช้บริการคลินิก
               (1.2)  บันทึกลงฐานข้อมูล  : ตรวจสอบข้อมูลให้เรียบร้อยก่อนบันทึกลงฐานข้อมูล                    (3)  ระบบแก้ไขประวัติส่วนตัว
               (1.1)  ตรวจสอบข้อมูล : ตรวจสอบข้อมูลและประวัติของผู้ป่วยก่อนบันทึกผลเพื่อประเมินผลการรักษาครั้งต่อไป
(4)  ระบบจองคิวล่วงหน้า                                                                                                       
               (1.1)  จองคิวล่วงหน้า : เช็คตารางที่ว่างและเลือกวันเวลาในการจองคิวล่วงหน้า
               (1.2) เลื่อนนัด : แจ้งการเลื่อนการจองคิวและเลือกวันเวลาที่ว่างเพื่อจองคิวอีกครั้ง
               (1.3)  บันทึกลงฐานข้อมูล  : ตรวจสอบข้อมูลการจองคิวให้เรียบร้อยก่อนบันทึกลงฐานข้อมูล
(5) ระบบนัดหมาย
               (1.1)  เช็คตารางนัดหมาย : เช็คตารางนัดหมายในกรณีที่ว่างหรือไม่ว่างในวันเวลานั้นๆ
               (1.2) ยืนยันการนัดหมาย/เลื่อนนัด : ยืนยันการนัดหมายหรือยืนยันการเลื่อนนัดหมายในวันเวลานั้นๆ
               (1.3) บันทึกลงฐานข้อมูล  : ตรวจสอบข้อมูลการนัดหมายให้เรียบร้อยก่อนบันทึกลงฐานข้อมูล
(6) ระบบแจ้งเตือน
               (1.1) เลือกวิธิการนัดหมาย : เลือกวิธีการนัดหมายผ่านระบบหรือผ่าน SMS
               (1.2) ยืนยันการนัดหมาย : ยืนยันวิธีการนัดหมายเพื่อบันทึกลงฐานข้อมูล
7.3 ระยะเวลาในการดำเนินงาน
ตลอดปีการศึกษา 2564
 
8.สมมติฐาน สามารถนำการพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิกไปใช้ได้จริง
9.วิธีดำเนินการวิจัย การพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิก ขั้นตอนการออกแบบ โดยรายละเอียด ดังแสดงเป็นลำดับขั้นตอนในการดำเนินโครงการ ดังนี้
              1) วิธีการดำเนินโครการ
​              2) วิเคราะห์สภาพปัญหา
​              3) ข้อกำหนดเกี่ยวกับความต้องการของนวัตกรรม
​              4) การออกแบบนวัตกรรม
​              5) การทดสอบระบบ
​              6) การออกแบบประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม
​              7) การออกแบบประเมินความพึงพอใจการใช้นวัตกรรม
​              8) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
​              9) การเก็บรวบรวมข้อมูล
​              10) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
9.1ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1) ประชากร บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ป่วย ผู้ต้องการใช้บริการคลินิก 2) กลุ่มตัวอย่าง บุคลากรทางการแพทย์ในคลินิกบ้านสวนสหคลินิก ผู้มาใช้บริการจำนวน 10 คน กลุ่มเป้าหมายที่1 แอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก คือที่มีประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการคลินิกและการจองคิวมาเป็นเวลานาน จำนวน 2 คน และผู้มาใช้บริการ จำนวน 3 คน กลุ่มเป้าหมายที่2 บุคลากรทางการแพทย์ในคลินิกบ้านสวนสหคลินิก จำนวน2 คน และผู้มาใช้บริการ จำนวน 10 คน
10.สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ 1.ใช้แบบวัดความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ในคลินิกบ้านสวนสหคลินิกผ่านการใช้งานแอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก ที่สร้างขึ้น
2.ใช้แบบวัดความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการผ่านการใช้งานแอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก ที่สร้างขึ้น
11.ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล               ในการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ดำเนินโครงการวิจัยดำเนินการ ดังนี้ ผู้จัดทำเป็นผู้รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยใช้แบบวัดความพึงพอใจของผู้ที่ได้ทดลองใช้แอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก ที่สร้างขึ้น และแบบทดสอบประสิทธิภาพของระบบแอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก ที่สร้างขึ้นเมื่อเทียบกับการจัดการและการจองคิวแบบเดิม โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายที่1 แอพพลิเคชั่นการจองคิวและการจัดการคลินิก คือที่มีประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการคลินิกและการจองคิวมาเป็นเวลานาน จำนวน 2 คน และผู้มาใช้บริการ จำนวน 3 คน และเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายที่2 บุคลากรทางการแพทย์ในคลินิกบ้านสวนสหคลินิก จำนวน2 คน และผู้มาใช้บริการ จำนวน 10 คน
12.วิเคราะห์ข้อมูล               การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการสร้างระบบ คณะผู้วิจัยนำเสนอผลการวิจัย มีการวิเคราะห์และค่าสถิติ ดังนี้
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูล
            P แทน ร้อยละ
            x̅ แทน ค่าเฉลี่ย
            S.D. แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
13.ผลของการวิจัย ผลการวิจัยจากการทดลองใช้ระบบพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิก กับกลุ่มตัวอย่างได้ผลดังนี้ 
          1. พิจารณาความคิดเห็นของ Admin ระบบจองคิวคลินิก   มีความเหมาะสมโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด แบ่งเป็นการทดสอบ 4 ด้าน ดังนี้
                    1.1 ด้านการนำเข้าข้อมูลระบบ เมื่อพิจารณาประเด็น พบว่า ความสามารถด้านระบบสมัครสมาชิก, ความสามารถด้านเข้าสู่ระบบ, ความสามารถด้านตรวจสอบความถูกต้องของผู้ใช้งาน, ความสามารถด้านบันทึกข้อมูลของผู้ใช้งาน, ความสามารถด้านตรวจสอบข้อมูลการรักษาผู้ใช้งาน, ความสามารถด้านบันทึกการรักษาผู้ป่วย, ความสามารถด้านตรวจสอบตารางการจองคิว, ความสามารถด้านเช็คตารางนัดหมายก่อนยืนยันการจองคิว, ความสามารถด้านยืนยันการเลื่อนนัด, ความสามารถด้านบันทึกข้อมูลการจองคิวลงในระบบ, ความสามารถด้านแจ้งเตือนผู้ใช้งานผ่าน SMS ก่อนถึงเวลานัดหมาย อยู่ในระดับมากที่สุด
                    1.2 ด้านการทำงานตามฟังก์ชันของระบบ เมื่อพิจารณาประเด็น พบว่า ความสามารถด้านสมัครสมาชิกเพื่อใช้งานระบบ, ความสามารถด้านกรอกข้อมูลส่วนตัวที่ใช้ในการสมัครสมาชิก, ความสามารถด้านตรวจสอบความถูกต้องของผู้ใช้งาน, ความสามารถด้านตรวจสอบข้อมูลการรักษา, ความสามารถด้านบันทึกข้อมูลการรักษาของผู้ใช้งาน, ความสามารถด้านตรวจสอบตารางการจองคิว, ความสามารถด้านเช็คตารางนัดหมายก่อนยืนยันการจองคิว, ความสามารถด้านบันทึกข้อมูลการจองคิวลงในระบบ, ความสามารถด้านแจ้งเตือนผู้ใช้งานผ่าน SMS ก่อนถึงเวลานัดหมาย อยู่ในระดับมากที่สุด
                    1.3 ด้านความง่ายต่อการใช้งานของระบบ เมื่อพิจารณาประเด็น พบว่า ความสามารถด้านความสะดวกในการใช้งานระบบ, ความสามารถด้านสีสันในการออกแบบเว็บไซต์มีความเหมาะสม, ความสามารถด้านความถูกต้องของเนื้อหาที่แสดง, ความสามารถด้านความเหมาะสมในการออกแบบหน้าจอโดยภาพรวม, ความสามารถด้านความชัดเจนของข้อความที่แสดงบนจอภาพ, ความสามารถด้านความสะดวกในการเข้าใช้ระบบ, ความสามารถด้านความน่าใช้ของระบบในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด
                    1.4 ด้านความปลอดภัยระบบ เมื่อพิจารณาประเด็น พบว่า ความสามารถด้านการกำหนดสิทธิ์การเข้าใช้ระบบเกิดความปลอดภัยในการใช้งาน, ความสามารถด้านการกำหนดสิทธิ์แก้ไข เพิ่ม ลบข้อมูลของผู้ใช้งานระบบ, ความสามารถด้านความปลอดภัยของการเข้าถึงข้อมูล อยู่ในระดับมากที่สุด
          2. ความคิดเห็นของผู้ใช้งาน ระบบจองคิวคลินิก มีความเหมาะสมโดยรวม อยู่ในระดับมาก แบ่งเป็นการทดสอบ 4 ด้าน ดังนี้
                   2.1 ด้านการนำเข้าข้อมูลระบบ เมื่อพิจารณาประเด็น พบว่า ความสามารถด้านสมัครสมาชิกเพื่อใช้งานระบบ, ความสามารถด้านกรอกข้อมูลส่วนตัวในการสมัครสมาชิก, ความสามารถด้านเข้าสู่ระบบ, ความสามารถด้านตรวจสอบและแก้ไขประวัติการรักษา, ความสามารถด้านบันทึกข้อมูลการรักษาลงในระบบ, ความสามารถด้านเช็คคิวว่างเพื่อจองคิว, ความสามารถด้านกรอกข้อมูลในการจองคิว, ความสามารถด้านเลือกวัน/เวลาในการจองคิวอีกครั้งในกรณีที่มีการเลื่อนนัด, ความสามารถด้านเช็คตารางนัดหมายก่อนยืนยันการจองคิว, ความสามารถด้านยืนยันข้อมูลการจองคิวลงในระบบ อยู่ในระดับมาก
                    2.2 ด้านการทำงานตามฟังก์ชันของระบบ พบว่า ความสามารถด้านสมัครสมาชิกเพื่อใช้งานระบบ, ความสามารถด้านกรอกข้อมูลส่วนตัวที่ใช้ในการสมัครสมาชิก, ความสามารถด้านกรอกข้อมูลที่จำเป็นในการรักษา, ความสามารถด้านตรวจสอบข้อมูลการรักษา, ความสามารถด้านเลือกวัน/เวลาที่ต้องการจองคิว, ความสามารถด้านเลือกวัน/เวลาในการจองคิวอีกครั้งในกรณีที่มีการเลื่อนนัด, ความสามารถด้านบันทึกข้อมูลการจองคิวลงในระบบ, ความสามารถด้านมีการแจ้งเตือนผ่าน SMS ก่อนถึงเวลานัดหมาย อยู่ในระดับมาก
                    2.3 ด้านความง่ายต่อการใช้งานของระบบ พบว่า ความสามารถด้านความสะดวกในการใช้งานระบบ, ความสามารถด้านสีสันในการออกแบบเว็บไซต์มีความเหมาะสม, ความสามารถด้านความถูกต้องของเนื้อหาที่แสดง, ความสามารถด้านความเหมาะสมในการออกแบบหน้าจอโดยภาพรวม, ความสามารถด้านความชัดเจนของข้อความที่แสดงบนจอภาพ, ความสามารถด้านความสะดวกในการเข้าใช้ระบบ, ความสามารถด้านความน่าใช้ของระบบในภาพรวม, อยู่ในระดับมาก
                    2.4  ด้านการใช้งานรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ พบว่า ความสามารถด้านการกำหนดสิทธิ์การเข้าใช้ระบบเกิดความปลอดภัยในการใช้งาน, ความสามารถด้านการกำหนดสิทธิ์แก้ไข เพิ่ม ลบข้อมูลของผู้ใช้งานระบบ, ความสามารถด้านความปลอดภัยของการเข้าถึงข้อมูล อยู่ในระดับมาก
14.การอภิปรายผล             จากผลการสร้างระบบพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิก สามารถทำงานได้จริงตามที่ออกแบบ แบ่งการทดสอบเป็น 4 ด้าน คือ 1) ด้านการนำเข้าข้อมูลระบบ 2)  ด้านการประมวลผล , 3) ด้านการรายงานข้อมูลระบบ, 4) ด้านความปลอดภัยระบบ โดยจุดเด่นของระบบพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิก คือ ความสามารถการสมัครสมาชิกเพื่อเข้าสู่ระบบ, ความสามารถการสมัครสมาชิกเพื่อเข้าสู่ระบบ. ความสามารถการกรอกข้อมูลอาการป่วยของผู้ป่วยที่ใช้บริการความสามารถการกรอกข้อมูลอาการป่วยของผู้ป่วยที่ใช้บริการ, ความสามารถการเลือกวันและเวลาเพื่อกำหนดคิวนัดในการรักษา, ความสามารถการทำเรื่องขอเลื่อนนัดในการรักษา, ความสามารถการบันทึกประวัติของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา, ความสามารถการบันทึกประวัติการรักษาของผู้ป่วย, ความสามารถการบันทึกการสั่งจ่ายยา, สามารถสมัครสมาชิกเพื่อเข้าสู่ระบบได้, สามารถกรอกข้อมูลของผู้ใช้งานระบบได้, สามารถสร้าง Username และ Password เพื่อเข้าใช้งานระบบได้, สามารถกรอกข้อมูลอาการป่วยของผู้ป่วยที่ใช้บริการได้, สามารถตรวจสอบและยืนยันการเลือกวันและเวลาในการกำหนดคิวได้, สามารถตรวจสอบและยืนยันการทำเรื่องขอเลื่อนนัดในการรักษาได้, สามารถบันทึกประวัติของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาได้, สามารถบันทึกประวัติการรักษาของผู้ป่วยได้, สามารถบันทึกการสั่งจ่ายยาได้, สามารถแจ้งเตือนผู้ใช้งานผ่าน SMS ก่อนถึงเวลานัดหมาย, แสดงข้อมูลของผู้ใช้งานในระบบ, แสดงข้อมูลการรักษาผู้ป่วย, แสดงรายการจองคิวของผู้ใช้งานระบบ, แสดงรายการใบเสร็จการรักษาและการจ่ายยา, แสดงรายการสรุปยอดผู้ใช้งานระบบ, การกำหนดสิทธิ์การเข้าใช้ระบบเกิดความปลอดภัยในการใช้งาน, การกำหนดสิทธิ์แก้ไข เพิ่ม ลบข้อมูลของผู้ใช้งานระบบ, การกำหนดสิทธิ์ความปลอดภัยของการเข้าถึงข้อมูลอยู่ในระดับมากที่สุด
15.ข้อเสนอแนะ        16.1ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้
ควรมีการใช้ประโยชน์จากระบบพัฒนาและหาประสิทธิภาพแอพพลิเคชั่น เพื่อการจองคิว สำหรับการจัดการคลินิก เพื่อจองคิวในการรักษา สำหรับคนทั่วไปและบุคลากรทางการแพทย์ ที่พัฒนาขึ้นให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ควรใช้ในการจองคิวการรักษา และการเก็บรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยแต่ละคน เพื่อเป็นการที่ผู้จองคิวในครั้งถัดไปสามารถลดเวลาในการรอคิวและเสียเวลาสอบถามอาการจากแพทย์
          16.2ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
                    1) ควรเพิ่มข้อมูลการจ่ายยาลงในระบบ
                    2) ควรปรับปรุงการเลื่อนนัดด้วยตัวเองสำหรับผู้ใช้บริการ
                    3) ควรปรับปรุงการเพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลการป่วยได้
16.บรรณานุกรม การเขียนภาษา php เบื้องต้น(2564) เข้าถึงได้จาก https://benzneststudios.com/blog/php/php-programming-basic-1-basic/ (วันที่สืบค้นข้อมูล 30 มกราคม 2565)
ระบบฐานข้อมูล(2564) เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/databaseeeee0089/ (วันที่สืบค้นข้อมูล 3 กุมภาพันธ์ 2565)
XAMPP (2564) เข้าถึงได้จาก https://www.ninetechno.com/a/website/873-xampp.html (วันที่สืบค้นข้อมูล 4 กุมภาพันธ์ 2565)
ภาษา HTML เข้าถึงได้จาก http://worrayut.blogspot.com/ (วันที่สืบค้นข้อมูล 7 กุมภาพันธ์ 2565)
 
17.ประวัติผู้จัดทำ                                             

ชื่อ-นามสกุล     นางสาว กนกมาศ กันทาท้าว
เกิดวันที่           9 มกราคม 2542
ที่อยู่ปัจจุบัน      91/1 ม.3 ต.ห้วยม้า อ.เมือง จ.แพร่ 54000
วุฒิการศึกษา     ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
                      สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
รหัสนักศึกษา     63301280108
เบอร์โทร          091-8209969
อีเมล์               meaw0667@gmail.com

                                              

ชื่อ-นามสกุล     นาย ณัฐพงษ์ ธรรมสอน
เกิดวันที่           30 สิงหา 2544
ที่อยู่ปัจจุบัน      376 ม.3 ต.บ้านหนุน อ.สอง จ.แพร่ 54120
วุฒิการศึกษา     ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
                      สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
รหัสนักศึกษา     63301280109
เบอร์โทร          095-2409969
อีเมล์               nuttanut109@gmail.com
18.ลิงค์ยูทูป